วันพุธที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 : สิทธิมนุษยชน
7.1 สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการ... อ่านเพิ่มเติม
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
7.2 องค์การระหว่างประเทศที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน
1. คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ(The United Nations Human Rights Council) ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ(Uncommission for human rights) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด... อ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 : กฎหมาย
6.1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว
กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคล
1. ชื่อบุคคล เป็นเครื่องบ่งชี้เฉพาะบุคคล ประกอบด้วยชื่อตัว ชื่อรอง และชื่อสกุล (แต่คนไทยไม่นิยมใช้ชื่อรอง)... อ่านเพิ่มเติม
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
6.2 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนและประเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชน
1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับ... อ่านเพิ่มเติม
1. ชื่อบุคคล เป็นเครื่องบ่งชี้เฉพาะบุคคล ประกอบด้วยชื่อตัว ชื่อรอง และชื่อสกุล (แต่คนไทยไม่นิยมใช้ชื่อรอง)... อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 : การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5.1 รัฐ
รัฐ คือ สมาคมของมนุษย์จำนวนหนึ่งครอบครองดินแดนแห่งหนึ่งที่มีอาณาเขตแน่นอน รวมกันอยู่ภายใต้รัฐบาลหนึ่ง ถ้าเป็นกิจการภายในเป็นองค์การแสดงออกซึ่งอธิปไตย แต่ถ้าเป็นกิจการภายนอกเป็นอิสระจากการบังคับบัญชาของรัฐบาลอื่น... อ่านเพิ่มเติม
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
5.2 ฐานะและพระอำนาจของพระมหากษัตริย์
ตามการปกครองระบอบประชาธิปประไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น เป็นการปกครองรูปแบบที่พระองค์จะทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะประมุขของรัฐและในฐานะอื่นๆซึ่งเป็นไปตามที่รับธรรมนูญกำหนดไว้ ดังนี้... อ่านเพิ่มเติม
หน่วยเรียนรู้ที่ 4 : พลเมืองดี
4.1 พลเมืองดี
พลเมืองดี หมายถึง ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิและเสรีภาพของ บุคคลอื่น... อ่านต่อ
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
4.2 คุณลักษณะของพลเมืองดี
คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า มีดังนี้... อ่านต่อ
วันเสาร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : วัฒนธรรม
3.1 วัฒนธรรมไทย
การที่มนุษย์มาอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นสังคมขึ้นมาย่อมต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของกลุ่มมีระเบียบแบบแผนที่ควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในกลุ่มให้อยู่ในขอบเขตที่จะ... อ่านเพิ่มเติม
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
3.2 ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล
วัฒนธรรมสากลมีความแตกต่างจากวัฒนธรรมไทยอยู่หลายประการด้วยกัน ดังนี้
1) เน้นปรัชญาว่า “มนุษย์เป็นนายธรรมชาติ” สามารถบังคบธรรมชาติให้ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้ทั้งหมด เช่น การเดินทางด้วยสองเท้า... อ่านเพิ่มเติม
3.2 ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล
วัฒนธรรมสากลมีความแตกต่างจากวัฒนธรรมไทยอยู่หลายประการด้วยกัน ดังนี้
1) เน้นปรัชญาว่า “มนุษย์เป็นนายธรรมชาติ” สามารถบังคบธรรมชาติให้ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้ทั้งหมด เช่น การเดินทางด้วยสองเท้า... อ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 : การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาทางสังคม
2.1 การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม หมายถึง การที่ระบบสังคม กระบวนการ แบบอย่างหรือรูปแบบทางสังคม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี ระบบครอบครัว ระบบการปกครอง ได้เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นด้านใดก็ตามการเปลี่ยนแปลงทางสังคมนี้อาจจะ... อ่านต่อ
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
2.2 ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น... อ่านต่อ
2.2 ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น... อ่านต่อ
ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น... อ่านต่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : สังคม
1.1 โครงสร้างทางสังคม
โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจำนวนหนึ่ง ซึ่งมีแบบแผนในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน โครงสร้าง ของสังคม เปรียบได้กับบ้านเรือนที่... อ่านต่อ
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
1.2 การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง วิธีการที่คนในสังคมกำหนดขึ้นมาเพื่อให้คนที่มาอยู่รวมกันประพฤติปฎิบัติตาม รวมทั้งทำให้สังคมมีความมั่นคงและสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อยหรืออาจกล่าวได้ว่า... อ่านต่อ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)